การจัดการกล่มุ ของกิจกรรมงาน กล่าวคือ ตั้งแต่การรับวัตถุดิบมาจาก Supplies
แล้วเปลี่ยนวัตถุดิบนั้นให้เป็นสินค้าขั้นกลาง และสินค้าขั้นสุดท้าย จนกระทั่งจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า
สิ่งที่จะทำให้เข้าใจถึงหน้าที่ของการผลิตและวธีการควบคุมการผลิตนั้น เราจะต้อง
เข้าใจในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวในกระบวนการผลิตอยู่ 2 สิ่งหลักๆ คือ
- วัตถุดิบ (Materials)
- สารสนเทศ (Information)
ปัญหาคือความสนใจที่แตกต่างกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น
- ลูกค้ามักต้องการสินค้าที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบและมีราคาถูก
- พนักงานในสายการผลิตอยากรู้คำสั่งที่ถูกต้อง
- ฝ่ายจัดซื้อต้องการได้วัตถุดิบที่ถูกต้อง มีคุณภาพ
- ผู้จำหน่ายวัตถุดิบต้องการคำสั่งซื้อที่ถูกต้องเพื่อจะได้จัดส่งได้ถูกต้อง
- ผู้จัดการต้องการรายงานที่ถูกต้อง
ประโยชน์ของการทำ SCM
- การเคลื่อนไหลของวัตถุดิบและสารสนเทศเป็นไปอย่างราบรื่น
- ปรับปรุงระดับของสินค้าคงเหลือ
- เพิ่มความเร็วได้มากขึ้น
- ขจัดความสิ้นเปลืองหรือความสูญเปล่าต่างๆ ในกระบวนการทางธุรกิจให้หมดไปได้
- ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ ได้
- ปรับปรุงการบริการลูกค้า
- การบูรณาการกระบวนการภายในทางธุรกิจให้เป็นแบบไร้รอยตะเข็บ
ไร้ความสูญเสีย และมีความยืดหยุ่น ใช้นโยบายการทำงานแบบข้ามสายงาน
ลดกระบวนการและขั้นตอนการทำงานที่ไม่จำเป็น
- การบูรณาการกับกระบวนการภายนอกนั้นคือบูรณาการกับกระบวนการของลูกค้า
ที่สำคัญและผู้จัดหาวัตถุดิบที่สำคัญให้เข้ากับกระบวนการภายในของบริษัท
อย่างมีประสิทธิภาพ และไร้รอยตะเข็บ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าได้อย่างยืดหยุ่น และ รวดเร็ว ขณะที่ต้นทุนลดตํ่าลง
- การบูรณาการทางเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ เพื่อให้การแลกเปลี่ยน
และประสานข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและระหว่างองค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่นิยมใช้กันได้แก่ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (E-bussiness)
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange-EDI)
การส่งจดหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) บาร์โค้ด (Bar Code)
การชี้บ่งตำแหน่งด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radio Frequency Identification-RFID)
อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ซอฟท์แวร์การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ
(Enterprise Resource Planning-ERP) เป็นต้น
การนำระบบสารสนเทศไปใช้ในการจัดการด้าน Supply Chain
Supply Chain Management คือ การจัดการเชื่อมกิจกรรมต่างๆที่สัมพันธ์กัน
ระหว่างผู้ผลิต (Supplier) ผู้จัดจำหน่าย(Distributor) และลูกค้า (Customer)
กลยุทธ์ทางด้าน Supply Chain นั้นได้แก่ ความพยายามที่จะผูกลูกค้า ผู้ผลิต
หรือผู้จัดจำหน่ายกับธุรกิจ เรียกว่า Lock-in Customers หรือ Lock-in Suppliers
เพื่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนไปทำธุรกิจกับผู้อื่น (Switching Cost) มีสูงขึน
ตัวอย่างของการนำสารสนเทศมาใช้ในองค์กร
UPS แข่งขันไปทั่วโลกด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริษัท United Parcel Service หรือ UPS ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่อันดับหนึ่งของโลก
ในด้านการจัดส่งพัสดุทางบก ทำการก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2450 และยังคงเป็นบริษัท
อันดับหนึ่งในปัจจุบันจากการที่ไม่เคยหยุดอยู่กับการพัฒนาบริการให้ดีขึ้น
UPS ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เรียกว่า Hand-held Computer การบันทึก
ข้อมูลลายเซ็นลูกค้าเวลาที่รับหีบห่อและเวลาที่ส่งหีบห่อจากนั้นส่งผ่านข้อมูล
โดยผ่านระบบเครือข่ายของโทรศัพท์ไร้สาย หรือ Cellular Telephone Network
ภายในรถไปยังคอมพิวเตอร์หลักของบริษัทที่ตั้งอยู่ทั่วโลกทำให้สามารถทราบได้
ว่าพัสดุอยู่ที่ไหน
ซึ่งระบบนี้จะใช้ บาร์โค้ด ( Bar Code ) เป็นตัวบันทึกข้อมูลหีบห่อที่รับและส่ง
เพื่อส่งผ่านข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง ทำให้ฝ่ายขายสามารถตอบคำถาม
ลูกค้าเกี่ยวกับพัสดุได้รวมทั้งลูกค้าของ UPS สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลเหล่านี้
ได้เองทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือ ( WWW ) หรือการใช้ซอฟต์แวร์พิเศษของ UPS
รวมทั้งลูกค้าสามารถเข้าไปใน WWW ตรวจสอบเส้นทางการขนส่ง คำนวณอัตราค่าส่งหีบห่อ
และจัดตารางการรับ/ส่งหีบห่อได้และในอนาคตก็จะสามารถจ่ายค่าส่งทางอินเตอร์เน็ตได้
นอกจากนี้ตั้งแต่ปี 2534 UPS ยังเสนอบริการใหม่ด้วยการส่งสินค้าภายใน24 ชั่วโมง
และบริษัทยังสามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางหรือหยุดการส่งในระหว่างทางได้หากลูกค้าต้องการ
สิ่งที่จะทำให้เข้าใจถึงหน้าที่ของการผลิตและวธีการควบคุมการผลิตนั้น เราจะต้อง
เข้าใจในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวในกระบวนการผลิตอยู่ 2 สิ่งหลักๆ คือ
- วัตถุดิบ (Materials)
- สารสนเทศ (Information)
ปัญหาคือความสนใจที่แตกต่างกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น
- ลูกค้ามักต้องการสินค้าที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบและมีราคาถูก
- พนักงานในสายการผลิตอยากรู้คำสั่งที่ถูกต้อง
- ฝ่ายจัดซื้อต้องการได้วัตถุดิบที่ถูกต้อง มีคุณภาพ
- ผู้จำหน่ายวัตถุดิบต้องการคำสั่งซื้อที่ถูกต้องเพื่อจะได้จัดส่งได้ถูกต้อง
- ผู้จัดการต้องการรายงานที่ถูกต้อง
Problems of supply chain management
ประโยชน์ของการทำ SCM
- การเคลื่อนไหลของวัตถุดิบและสารสนเทศเป็นไปอย่างราบรื่น
- ปรับปรุงระดับของสินค้าคงเหลือ
- เพิ่มความเร็วได้มากขึ้น
- ขจัดความสิ้นเปลืองหรือความสูญเปล่าต่างๆ ในกระบวนการทางธุรกิจให้หมดไปได้
- ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ ได้
- ปรับปรุงการบริการลูกค้า
การบูรณาการในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Integration)
ไร้ความสูญเสีย และมีความยืดหยุ่น ใช้นโยบายการทำงานแบบข้ามสายงาน
ลดกระบวนการและขั้นตอนการทำงานที่ไม่จำเป็น
- การบูรณาการกับกระบวนการภายนอกนั้นคือบูรณาการกับกระบวนการของลูกค้า
ที่สำคัญและผู้จัดหาวัตถุดิบที่สำคัญให้เข้ากับกระบวนการภายในของบริษัท
อย่างมีประสิทธิภาพ และไร้รอยตะเข็บ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าได้อย่างยืดหยุ่น และ รวดเร็ว ขณะที่ต้นทุนลดตํ่าลง
- การบูรณาการทางเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ เพื่อให้การแลกเปลี่ยน
และประสานข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและระหว่างองค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่นิยมใช้กันได้แก่ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (E-bussiness)
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange-EDI)
การส่งจดหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) บาร์โค้ด (Bar Code)
การชี้บ่งตำแหน่งด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radio Frequency Identification-RFID)
อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ซอฟท์แวร์การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ
(Enterprise Resource Planning-ERP) เป็นต้น
Value Chain ห่วงโซ่คุณค่า
ตัวอย่าง
การนำ Value Chain มาวิเคราะห์เพื่อนำ IT มาบูรณาให้กับองค์กร
Supply Chain Management คือ การจัดการเชื่อมกิจกรรมต่างๆที่สัมพันธ์กัน
ระหว่างผู้ผลิต (Supplier) ผู้จัดจำหน่าย(Distributor) และลูกค้า (Customer)
กลยุทธ์ทางด้าน Supply Chain นั้นได้แก่ ความพยายามที่จะผูกลูกค้า ผู้ผลิต
หรือผู้จัดจำหน่ายกับธุรกิจ เรียกว่า Lock-in Customers หรือ Lock-in Suppliers
เพื่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนไปทำธุรกิจกับผู้อื่น (Switching Cost) มีสูงขึน
ตัวอย่างของการนำสารสนเทศมาใช้ในองค์กร
UPS แข่งขันไปทั่วโลกด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริษัท United Parcel Service หรือ UPS ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่อันดับหนึ่งของโลก
ในด้านการจัดส่งพัสดุทางบก ทำการก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2450 และยังคงเป็นบริษัท
อันดับหนึ่งในปัจจุบันจากการที่ไม่เคยหยุดอยู่กับการพัฒนาบริการให้ดีขึ้น
UPS ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เรียกว่า Hand-held Computer การบันทึก
ข้อมูลลายเซ็นลูกค้าเวลาที่รับหีบห่อและเวลาที่ส่งหีบห่อจากนั้นส่งผ่านข้อมูล
โดยผ่านระบบเครือข่ายของโทรศัพท์ไร้สาย หรือ Cellular Telephone Network
ภายในรถไปยังคอมพิวเตอร์หลักของบริษัทที่ตั้งอยู่ทั่วโลกทำให้สามารถทราบได้
ว่าพัสดุอยู่ที่ไหน
เพื่อส่งผ่านข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง ทำให้ฝ่ายขายสามารถตอบคำถาม
ลูกค้าเกี่ยวกับพัสดุได้รวมทั้งลูกค้าของ UPS สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลเหล่านี้
ได้เองทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือ ( WWW ) หรือการใช้ซอฟต์แวร์พิเศษของ UPS
รวมทั้งลูกค้าสามารถเข้าไปใน WWW ตรวจสอบเส้นทางการขนส่ง คำนวณอัตราค่าส่งหีบห่อ
และจัดตารางการรับ/ส่งหีบห่อได้และในอนาคตก็จะสามารถจ่ายค่าส่งทางอินเตอร์เน็ตได้
นอกจากนี้ตั้งแต่ปี 2534 UPS ยังเสนอบริการใหม่ด้วยการส่งสินค้าภายใน24 ชั่วโมง
และบริษัทยังสามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางหรือหยุดการส่งในระหว่างทางได้หากลูกค้าต้องการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น